ไทย | English
Cover

โครงการที่ได้รับทุน

  1. คลัสเตอร์วิจัย ชุดทดสอบการติดเชื้อที่ทำงานด้วยสมาร์ทโฟนสำหรับการทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย
    (Smartphone-based Point of-Care (POCT) kit for infectious diseases)
    หัวหน้าคลัสเตอร์ ศ.นพ.พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    1. Smartphone-based Point of-Care (POCT) Kit for Detection of Hepatitis C Virus Infection
      (ชุดทดสอบแอนติเจนของไวรัสตับอักเสบซีที่ทำงานด้วยสมาร์ทโฟนสำหรับการทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย)
      ศ.นพ.พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    2. Smartphone-Based Point of-Care (POCT) Diagnostic System and Platform for Leptospirosis
      (ชุดทดสอบตรวจหาเชื้อเลปโตสไปโรซิสที่ทำงานด้วยสมาร์ทโฟน สำหรับการทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย)
      ผศ.ดร.พญ.กนิษฐา ภัทรกุล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. คลัสเตอร์วิจัย นวัตกรรมแนวทางการวินิจฉัยและรักษาการติดเชื้อก่อโรค Clostridium difficile ในโรงพยาบาล
    (Innovative diagnostic and therapeutic strategies for hospital-acquired Clostridium difficile)
    หัวหน้าคลัสเตอร์ ผศ.ดร.สุรางค์ ชาญกำแหงเดชา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

    1. Bacteriophages and antimicrobial bacteriophage-derived proteins for controlling drug-resistant Clostridium difficile infection in vitro and in vivo
      (การใช้แบคเทอริโอเฟจและโปรตีนจากแบคเทอริโอเฟจเพื่อควบคุมเชื้อดื้อยา Clostridium difficile โดยการทดสอบในหลอดทดลองและในสิ่งมีชีวิต)
      ผศ.ดร.สุรางค์ ชาญกำแหงเดชา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

    2. Development of engineered scFv specific to Toxin A and Toxin B from drug resistant Clostridium difficile
      (การพัฒนาสารชีววัตถุสำหรับสารพิษชนิดเอ และบี จากเชื้อแบคทีเรียดื้อยา Clostridium difficile)
      ผศ.ดร.ธัญญดา รุ่งโรจน์มงคล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    3. Development of novel semisynthetic agents against Clostridium difficile
      (การพัฒนาสารกึ่งสังเคราะห์ชนิดใหม่เพื่อยับยั้งเชื้อก่อโรค Clostridium difficile)
      อ.ดร.ปฏิมา เพิ่มพูนพัฒนา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  3. คลัสเตอร์วิจัย โครงการเดี่ยว Applied Medical Biotechnology for Better Health
    หัวหน้าคลัสเตอร์ รศ.ดร.ณัฏฐวี เนียมศิริ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

    1. Innovative Antihypertensive Peptides Derived from By-products of Food Industrial
      (นวัตกรรมเพปไทด์ลดความดันโลหิตสูงจากผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมอาหาร)
      รศ.ดร.อภิชาติ กาญจนทัต คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    2. Development of biodegradable polymeric membranes with antimicrobial compound co-loaded with herbal extract for adjunctive treatment of periodontal disease
      (การพัฒนาแผ่นเมมเบรนพอลิเมอร์ชีวภาพบรรจุยาปฏิชีวนะร่วมกับสารสกัดสมุนไพรเพื่อใช้ในการร่วมรักษาโรคปริทันต์อักเสบ)
      รศ.ดร.ณัฏฐวี เนียมศิริ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

    3. Prebiotic supplements food for healthy adults
      (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารพรีไบโอติกสำหรับผู้ใหญ่สุขภาพดี)
      รศ.ดร.สันทัด วิเชียรโชติ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    4. Development of a highly sensitive nucleic acid amplification-based detection for human Leptospirosis infection
      (การพัฒนาเทคนิค Nucleic acid amplification-based detection ที่มีความไวสูงเพื่อตรวจหาผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิส)
      ดร.สุภิญญา ธนาพงษ์ภิชาติ ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  1. Growth factor for bone formation in dental devices
    (โกรทแฟคเตอร์สำหรับการสร้างเซลล์กระดูกในเครื่องมือแพทย์กลุ่มทันตกรรม)
    รศ.ดร.นรเศรษฐ์ ณ สงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. Development of human monoclonal antibodies specific to dengue virus E protein for cross-neutralization to 4 serotype without enhancing activity (การดัดแปลงและพัฒนาโมโนโคลนอลแอนติบอดีมนุษย์ที่เฉพาะต่อโปรตีน E ของเชื้อเดงกี่ไวรัสเพื่อใช้ยับยั้งเชื้อไวรัสไข้เลือดออกทั้งสี่สายพันธุ์โดยไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงของโรคจากกลไก ADE)
    รศ.ดร.ปานน้ำทิพย์ พิทักษ์สัจจะกุล คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

  3. Biocompatible tannic acid; A molecular tool for imaging (MRI) and treatment of diseases associated with abnormal iron homeostasis
    (การพัฒนาโมเลกุลแทนนิกสำหรับการสร้างภาพเหล็กเกินด้วยเทคนิคเอ็มอาร์ไอและรักษาโรคที่เกิดจากสมดุลเหล็กที่ผิดปกติ)
    ผศ.ดร.เฉลิมชัย ปิละพงค์ ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  4. Effect of probiotics on cholesterol, intestinal permeation and biomarkers in high cholesterol subjects
    (ผลของโพรไบโอติกต่อคอเลสเตอรอล การซึมผ่านลำไส้ และตัวบ่งชี้ทางชีวภาพในผู้ที่มีคอเลสเตอรอลสูง)
    รผศ.ดร.ไชยวัฒน์ ไชยสุต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  5. Detection of circulation tumour cells (CTCs) in metastatic breast cancer using magnetic and gold nanoparticles
    (การตรวจหาเซลล์มะเร็งที่กระจายตัวในกระแสเลือดที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจายด้วยอนุภาคนาโนทองและอนุภาคที่มี่คุณสมบัติทางแม่เหล็ก)
    รศ.ดร.ดาครอง พิศสุวรรณ กลุ่มสาขาวิชาวัสดุศาสตร์และนวัตกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล

  6. Development of early detection diagnostic kit for second primary tumor (SPT) of head and neck squamous cell carcinoma (HNSCC) in Thai patients
    (การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยเพื่อทำนายการเกิดมะเร็งร่วมตำแหน่งที่สองในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและลำคอชาวไทย)
    ผศ.ดร.พญ.ณฐินี จินาวัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

  7. คลัสเตอร์วิจัย ปัญญาประดิษฐ์จากข้อมูลสุขภาพและอุปกรณ์ชนิดพกพาเพื่อติดตามสภาวะความเสื่อมถอยของร่างกายจากเลือดและลมหายใจ
    หัวหน้าคลัสเตอร์ รศ.ดร.พัชรี เจียรนัยกูร คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    1. Youth Index from Health Artificial Intelligence
      (ดัชนีความเยาว์วัยของร่างกายแบบองค์รวมจากปัญญาประดิษฐ์ข้อมูลสุขภาพ)
      รศ.ดร.พัชรี เจียรนัยกูร คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    2. Portable Multiplex Blood Analyser based on microfluidics and nanostrips - Youth meter
      (เครื่องตรวจวัดเลือดครบวงจรแบบพกพาด้วยไมโครฟลูอิดิกส์และนาโนสตริปส์ - มิเตอร์วัดความเยาว์วัย)
      ผศ.ดร.รินา ภัทรมานนท์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    3. Youth VOCs analysis from breath using electronic nose
      (จมูกอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการติดตามสภาวะเยาว์วัยของร่างกาย)
      ผศ.ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  8. คลัสเตอร์วิจัย การพัฒนาการใช้เซลล์ภูมิคุ้มกันบำบัดร่วมกับยาต้านมะเร็งเพื่อรักษาโรคมะเร็งเต้านม
    หัวหน้าคลัสเตอร์ ศ.ดร.เพทาย เย็นจิตโสมนัส หน่วยอณูเวชศาสตร์ สถานส่งเสริมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

    1. Breast cancer-specific T-cells production for potential use in patients
      (การผลิตที-เซลล์ที่ (T-cells) มีประสิทธิภาพในการทำลายเซลล์มะเร็งอย่างจำเพาะเพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม)
      ผศ.ดร.มุทิตา จุลกิ่ง หน่วยอณูเวชศาสตร์ สถานส่งเสริมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

    2. Genetic engineered T cells against tumor associated MUC1 for breast cancer therapy
      (การพัฒนา CAR T cell จำเพาะต่อ mucin-1 แอนติเจนเพื่อใช้ในการรักษามะเร็งเต้านม)
      ผศ.ภญ.ดร.สุพรรณิการ์ ถวิลหวัง ภาควิชาเภสัชวิทยาและสรีรวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    3. Development of chimeric antigen receptor-Natural killer cells (CAR-NK) immunotherapy and exploring the sustainable regimen with chemotherapy for breast cancer
      (การพัฒนาเซลล์ภูมิคุ้มกันบำบัดชนิด NK cell ที่มีโมเลกุลตัวรับจำเพาะและแนวทางการใช้งานร่วมกับการรักษาหลักเพื่อการรักษาโรคมะเร็งเต้านม)
      อ.ดร.อุษรา ปัญญา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    4. Identification of natural compounds sensitizing breast cancer cells for effective combination treatment with breast cancer-specific T-cells
      (การค้นหาสารสกัดธรรมชาติที่มีคุณสมบัติในการเหนี่ยวนำให้เซลล์มะเร็งเต้านมถูกตรวจจับและทำลายเพิ่มขึ้น เมื่อใช้รักษาร่วมกับเซลล์ภูมิคุ้มกันบำบัดชนิด T cell ที่มีโมเลกุลตัวรับจำเพาะต่อมะเร็งเต้านม)
      ดร.ศศิประภา ขุนชัย คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

  1. Characterization of bioactive peptides from porcine blood
    (การศึกษา Bioactive peptides จากเลือดสุกร)
    ศ.ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. Development of Recombinant Hansenula polymorpha for Production of Human Papillomavirus (HPV) Vaccine
    (การพัฒนาสายพันธุ์รีคอมบิแนนท์ Hansenula polymorpha เพื่อผลิตวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก)
    รศ.ดร.ชื่นจิตต์ บุญเฉิด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  3. New virus-like particle-based vaccine against house dust mite allergy
    (วัคซีนใหม่รักษาโรคภูมิแพ้ไรฝุ่นโดยใช้อนุภาครูปร่างเสมือนไวรัส)
    Associate Professor Alain Jacquet คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  4. Development of diagnostic tools for calcium pyrophosphate deposition disease using fluorescent chemosensors
    (การพัฒนาเครื่องมือตรวจวินิจฉัยโรคการสะสมของแคลเซียมไพโรฟอสเฟตโดยใช้คีโมเซนเซอร์เรืองแสง)
    รศ.ดร.จิรารัตน์ วงศ์คงคาเทพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  5. ARM3D: Development of Innovation for Antimicrobial Resistance Monitoring, Detection, Drugs and Devices
    (ARM3D: การพัฒนานวัตกรรม การติดตาม การตรวจวินิจฉัย การค้นหาตัวยา และสิ่งประดิษฐ์ เพื่อประยุกต์ใช้ในการ ควบคุมการระบาดของเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ)
    รศ.ดร.ชนินทร์ นันทเสนามาตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  6. HbA1 c Optical Sensor based on Integrated Multichannel Spectroscopy Platform toward Point Of Care Testing
    (เครื่องวัดฮีโมโกลบินเอวันซีในเลือดแบบพกพาโดยอาศัยเทคโนโลยีทรานสดิวเซอร์เชิงแสงและระบบสเปกโตรสโคปีแบบหลายช่องรับสัญญาณ)
    ผศ.ดร.จำรัส พร้อมมาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  7. Enhancement of detection ability of bacterial luciferase reaction
    (การเพิ่มประสิทธิภาพชุดตรวจวัดการแสดงออกยีนจากเอนไซม์ลูซิเฟอเรส)
    ผศ.ดร.รัชนก ตินิกุล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  8. Biomedical and Clinical Decision and Management Support System: A Platform and Capacity Building
    (โครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ช่วยวินิจฉัยโรคด้วยข้อมูลชีววิทยาทาการแพทย์)
    ดร.วโรดม เจริญสวรรค์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  9. Innovative bioactive peptides derived from by-product in poultry industry
    (นวัตกรรมเพปไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพซึ่งเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมสัตว์ปีก)
    รศ.ดร.อภิชาติ กาญจนทัต สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  10. Large-scale production for clinical grade interferon gamma and development of Point-of-Care test kit for screening of anti-interferon-gamma antibody in patients with adult-onset immunodeficiency (AOID)
    (การผลิตอินเตอร์เฟียรอนในปริมาณมากเพื่อใช้ทางการแพทย์และการพัฒนาชุดทดสอบอย่างง่ายในการคัดกรองแอนติ-อินเตอร์เฟียรอนแอนติบอดีในผู้ป่วยกลุ่มอาการโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องในวัยผู้ใหญ่)
    ดร.ศุภชัย ศักดิ์ขจรภพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  11. Development of expanded carrier screening test kit for Thai couples.
    (โครงการการพัฒนาชุดตรวจคัดกรองพาหะโรคพันธุกรรมสำหรับคู่สมรสไทยก่อนมีบุตร)
    ศ.ดร.วสันต์ จันทราทิตย์ ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  12. Development of anti-HLA/MIC detection relevant to kidney transplantation based on ion sensitive field effect transistor (ISFET) technology
    (การพัฒนาเทคโนโลยีอิสเฟตเพื่อการตรวจหาแอนติบอดีต่อเอชแอลเอและมิคที่มีความสำคัญต่อการปลูกถ่ายไต)
    รศ.ดร.ชาญวิทย์ ลีลายุวัฒน์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  13. Development of Protein/DNA Biochip for Medical Diagnostic
    (การพัฒนาชุดตรวจ Protein/DNA Biochip เพื่อใช้ในทางการแพทย์)
    ผศ.ดร.เติมศักดิ์ ศรีคิรินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  14. Multivalent nanoparticles-enabled microfluidic device for circulating tumor cells isolation and detection.
    (การแยกและการตรวจหาเซลล์มะเร็งในกระแสเลือดโดยใช้อุปกรณ์ของไหลจุลภาคที่เพิ่มประสิทธิภาพด้วยอนุภาคนาโน)
    ดร.สรชา ธรรมภิวัฒนา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  15. Electrochemical biosensors for detection of disease markers
    (ไบโอเซนเซอร์เคมีไฟฟ้าสําหรับตรวจวัดสารบ่งชี้โรค)
    รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  16. Development of multiple recombinant antigens based-IgM ELISA assay for human leptospirosis
    (การพัฒนาต่อยอดชุดตรวจวินิจฉัยแอนติบอดีชนิดไอจีเอ็มต่อโปรตีนริคอมไบแนนหลายชนิดของเชื้อเลปโตสไปราด้วยเทคนิคอิไลซาสำหรับโรคเลปโตสไปโรสิส)
    ผศ.ดร.สันติ มณีวัชระรังษี คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

  1. Production of recombinant protein for enhance biological property of glass ionomer cement for medical and dental applications
    (การผลิตโปรตีนลูกผสมเพื่อเพิ่มคุณสมบัติทางชีวภาพของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์เพื่อใช้ในการแพทย์และทันตกรรม)
    รศ.ทพญ.ดร.อุรีพร เล็กกัต คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  2. Development of a practical paper-based DNA sensing device for detecting thalassemia mutations
    (การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดดีเอ็นเอฐานกระดาษสำหรับตรวจการกลายพันธุ์โรคธาลัสซีเมีย)
    ศ.ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  3. Optimization of rCRM197 carrier protein production in Escherichia coli
    (การพัฒนากระบวนผลิตรีคอมบิแนท์โปรตีน CRM197 จากเชื้อเอสเชอริเชียโคไล)
    ผศ.ดร.ธัญญารัตน์ พงศ์ทรางกูร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  4. A paper-based RNA biosensor for rapid and sensitive diagnosis of virus infection
    (อาร์เอ็นเอไบโอเซนเซอร์ชนิดกระดาษสำหรับการวินิจฉัยการติดเชื้อจากไวรัสที่มีความรวดเร็วและความไวในการตรวจวัดสูง)
    ผศ.ดร.จำรัส พร้อมมาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  5. Nanoencapsulated curcumin for prevention of cholangiocarcinoma
    (นาโนเอ็นแคปซูลเคอร์คูมินสำหรับป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดี)
    รศ.ดร.สมชาย ปิ่นละออ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  6. Development of Anti-Androgenic Alopecia (Hair Loss) Products from Thai Plant Extracts
    (การพัฒนาผลิตภัณฑ์แก้โรคผมร่วงชนิดแอนโดรจินิคอะโลเพเซียจากสารสกัดพืช)
    รศ.ดร.วันชัย ดีเอกนามกูล คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  7. Development of chimeric antigen receptor (CAR)-T cells for nasopharyngeal cancer therapy
    (การพัฒนาทีเซลล์ที่มีตัวรับลูกผสมเพื่อใช้ในการรักษาโรคมะเร็งของโพรงหลังจมูก)
    ผศ.ดร.นพ.ปกรัฐ หังสสูต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  8. Utilization of MUBio building for process development of biologics and diagnostic kits production in pilot scale facility
    (การใช้ประโยชน์อาคารนวัตกรรมชีวภัณฑ์ มหาวิทยาลัยมหิดล (MUBio) เพื่อทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตชีววัตถุและชุดตรวจโรค ในระดับอุตสาหกรรม)
    ผศ.ดร.สมชาย เชื้อวัชรินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  9. Establishment of Reference Laboratory of Process Analytical Technology for Biopharmaceutical, Pharmaceutical and Nutraceutical Products
    (โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีวิเคราะห์กระบวนการสำหรับอุตสาหกรรมยา ชีววัตถุ และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)
    รศ.ดร.สาธิต พุทธิพิพัฒน์ขจร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล